ปรับแต่งตั้งค่าการยินยอม

เราใช้คุ้กกี้เพื่อช่วยให้คุณเนวิเกตได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำงานบางอย่างได้ คุณจะพบข้อมูลละเอียดเกี่ยวกับคุ้กกี้ทั้งหมดภายใต้หมวดหมู่การยินยอมด้านล่าง

คุ้กกี้ที่จัดอยู่ในประเภท "จำเป็น" จะถูกจัดเก็บในเบราว์เซอร์ของคุณเนื่องจากเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเปิดใช้งานพื้นฐานของเว็บไซต์... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

No cookies to display.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

No cookies to display.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

No cookies to display.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

No cookies to display.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

No cookies to display.

DOWNLOAD BROCHURE
หลักสูตรปรับปรุงใหม่ 68
หลักสูตรปรับปรุงใหม่ 68

มีเดีย มจธ. เปิดบ้านต้อนรับ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

ข่าวสาร 02 ตุลาคม 2019

เมื่อวันที่ 1 ตลุาคม 2562 โครงการร่วมบริหารหลักสูตรฯ (มีเดีย) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นำโดย รศ.ดร.ไพบูลย์ เกียรติโกมล, ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ ให้การต้อนรับบุคลากร จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำ โดย ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ เข้าเยี่ยมชมศึกษาดูงานทางด้านสื่อต่าง ๆ ที่ใช้ในด้านการเรียนการสอนและการแพทย์ อาทิเช่น หุ่นฝึกการทำคลอดเพื่อการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาแพทย์, หุ่นฝึกนวดกดจุดรักษาโรคไมเกรนเพื่อสร้างมาตรฐานการเรียนนวดสำหรับผู้พิการทางสายตา, Virtual Reality CPR เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน สำหรับการฟ้นื คืนชีพ, Virtual Reality สำหรับบำบัดผู้ป่วยโรคกลัวความสูง, Virtual Reality Space Walker สำหรับฝึกการเดิน กรณีศึกษาผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง, เมกเกอร์แปลภาษามือไทยให้เป็นภาษาพูด, ชุดสื่อประกอบการดูแลผู้ป่วยลมชักในเด็กช่วงอายุ 1-5 ปี และสื่อวีดิทัศน์เพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคไต เป็นต้น เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาด้านสื่อการเรียนการสอน ต่อไป

Share

ข่าวล่าสุด